ศึกษาเรียนรู้

23.8.63

ชีวิตทุกคนเท่าเทียมกันได้ด้วยการศึกษา

สิ่งเดียวที่จะทำให้ชีวิตเด็กทุกคนเท่าเทียมกันได้คือการศึกษา
        
       ประเทศที่มีระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น ยุโรป สิงคโปร์ หรือประเทศใช้งบประมาณมหาศาลไปกับการศึกษาเช่น  ไทยที่มีโอกาสสูงมากแต่มีระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพต่ำ  ดังนั้นเงินไม่ใช่ตัวกำหนดคุณภาพการศึกษา    เวลาผู้เรียนก็ไม่ใช่ตัวกำหนดคุณภาพการศึกษา
ประเทศที่มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างคุ้มค่า   สร้างความมั่นใจและความต้องการผู้ปกครอง
            คุณภาพการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญ   หากทุกโรงเรียนสามารถตอบโจทย์ความต้องการของเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพจะทำให้ผู้ปกครองไม่จำเป็นต้องส่งลูกไปเรียนที่โรงเรียนไกลๆ เพราะทุกโรงเรียนมีคุณภาพใกล้เคียงกัน.
         การพัฒนาให้โรงเรียนที่อยู่ใกล้บ้านที่สุด ให้เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดก็จะช่วยลดหลายปัญหาในระบบการศึกษาได้   ขณะเดียวกัน ข้อมูลยังระบุด้วยว่า เด็กที่มีฐานะยากจนที่สุดหรือขาดโอกาสมากที่สุด กลับมีผลการเรียนที่ดีมาก  นั่นหมายความว่า ฐานะที่ยากจนไม่ได้เป็นตัวกำหนดชะตาชีวิต เพราะเด็ก
รวยจนไม่มีผลต่อการศึกษา  ตัวอย่างเช่น  10%ของนักเรียนที่ด้อยโอกาส สี่มนฑณของประเทศจีน สิงโปร์และเอสโธเนียหรือฮ่องกง

อะไรคือตัวขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา
        คุณภาพครูและคุณภาพโรงเรียน โอกาสที่ดีสำหรับนักเรียนยากจน เพิ่มคุณภาพชีวิตและควมเหลื่อมล้ำ      ลงทุนกับทรัพยากรสอดคล้องกับความต้องการ   และจัดสรรจำนวนครูและนักเรียนโรงเรียนที่พวกเขาสามารถเปลี่ยนแปลงตนเองได้  ครูไม่ใช่แค่สอนหรือทำงาน   การตัดสินใจพวกนี้เกี่ยวข้องกับความเสมอภาค   ไม่ใช้แค่เม็ดเงินที่ลงทุนแต่ขึ้นอยู่กับวิธีการลงทุนการศึกษาหรือจัดลำดับความสำคัญของทรัพยากร
        ถ้าเลือกระหว่างครูที่ดีและห้องเรียนที่ดีให้เลือกครูที่ดีเถอะ ถ้าดึงดูดครูที่มีความสามารถที่สุด  มาอยู่ในห้องเรียนที่ท้าทายและมั่นใจว่าเด็กทุกคนเข้าถึงการศึกษาชั้นเลิศและเราต้องดูผลลัพธ์หลากหลายมิติของนักเรียนและโรงเรียนเช่น    ลดความเชื่อมโยงทางสังคมผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษากับภูมิหลังทางสังคมกับนักเรียนและโรงเรียน    
          ประสิทธิภาพและระบบการศึกษาที่สำคัญคือ  การมีทัศนคติเพื่อการเจริญเติบโตทางสติปัญญาของนักเรียนไม่ใช่แค่เรื่องภูมิหลังทางสังคม ไม่ใช้แค่ความฉลาดหรือรูปร่าง   หรือเป็นสิ่งเปลี่ยนกันไม่ได้     แต่ความสำเร็จจะได้มาจากความพยายาม


กสศ.กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
จัดทำโดย  นายวีระชัย  จันทรสุข

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น